ออมเงินแบบไม่กดดัน มีออมไว้ใช้ย ามฉุกเฉิน ด้วย 6 เคล็ดลับนี้

เคล็ดลับ 6 ข้อการออมเงินแบบไม่กดดัน มีออมไว้ใช้ย ามฉุกเฉิน

เวลาฟัง สัมมนาเกี่ยวกับการวางแผนการเงิน มักจะได้วิธีเก็บเงินเก็บทองใน รูปแบบต่างๆ แต่มีบางครั้งที่ทำตามได้

ไม่เต็มที่ด้วยเหตุผลต่างๆ นานา เช่น เป็นวิธีตึงจนเกินไป หรือไม่เหมาะกับไลฟ์สไตล์ของคนนั้นๆ อาจทำให้เกิด

ความล้มเหลวในระหว่างทาง

สุดท้ายเลิกเก็บออมเงินไปเลยอย่ าพึ่งท้อแท้เ พ ร า ะยังมีอีกหลายวิธีที่ทำให้การวางแผนการเงินประสบความ

สำเร็จจนมีเงินมีทองไว้ใช้จ่ายตลอด บกพร่องไปตลอดชีวิต โดยวิธีเก็บเงินเก็บทองที่จะนำเสนอนี้นอกจากมี

ความสนุกสนาน

หรือบางคนอาจอุทานออกมาว่า “ทำไปได้” ยังมีความท้าทายติดปลายนวมอีกด้วยเมื่อการวางแผนการเงินมี

ความชิล ทำให้ไม่รู้สึกถึงความอึดอัด มีลำบากย ากเข็ญ หรือทำแบบขอไปทีเลยกลายเป็นว่าได้ผลชนิดที่

เจ้าตัวแทบไม่รู้สึกเลยว่ากำลังทำอะไรอยู่ ที่สำคัญไม่รู้ตัวว่ากำลังมี “วินัย” กับเรื่องเงินๆ ทองๆ

30 วัน 627 บาท

เหมาะกับมือใหม่หัดออมเงิน เงินเดือนยังไม่มากหรือยังมีภาระค่าใช้จ่ายสูงวิธีการคือ ในแต่ละเดือนให้ออมเงิน

ลดลงวันละบาทเช่น วันที่ 1 ออม 30 บาท วันที่ 2 ออม 29 บาทวันที่ 3 ออม 28 บาท วันที่ 4 ออม 27 บาท

แล้วทำแบบนี้ ไปเรื่อยๆจนวันที่ 30 ออม 1 บาท

เหตุผลที่ใ ห้ทำแบบนี้ เ พ ร า ะว่าช่วงต้นเดือนยังมีเงินเหลือในบัญชีจึงมีกำลังและเต็มใจแบ่งมาเก็บออม และถ้าทำ

แบบนี้ ในแต่ละเดือนจะมีเงินเก็บ 627 บาทปีละ 7,5 24 บาท ถึงแม้จะดูไม่มากแต่ยังดีกว่าไม่ทำอะไรเลย

7 วัน 140 บาท

เหมาะกับมือใหม่หัดออมเช่นเดียวกัน และเบี้ยน้อยหอยน้อย วิธีการแสนง่ายดายด้วยการเก็บเงินเป็นรายสัปดาห์

เริ่มจากวันอาทิตย์เก็บ 5 บาท จันทร์เก็บ 10 บาท อังคารเก็บ 15 บาท พุธเก็บ 20 บาทพฤหัสบดีเก็บ 25 บาท

ศุกร์เก็บ 30 บาท และเสาร์เก็บ 35 บาท (มีเงินเก็บทั้งสิ้น 140 บาท)

พอขึ้นสัปดาห์ใหม่ ก็เก็บเงินแบบเดิมสัปดาห์ถัดไปก็ทำแบบเดิม ทำแบบนี้ไปเรื่อยๆถึงแม้แต่ละเดือนจะมีเงินเก็บ

ไม่กี่ร้อยบาทแต่สิ่งที่ได้และสำคัญต่อแผนการใหญ่ด้ านการวางแผนการเงินในอนาคต ก็คือระเบียบวินัย

12 เดือน 45,000 บาท

เหมาะกับใครที่ต้องการท้าทายตัวเอง วิธีการคือ ออมเงินทุกเดือนแ ล้วก็เพิ่มขึ้นเรื่อยๆเช่น มกราคมเก็บ 1,000 บาท

กุมภาพันธ์เก็บ 1 ,500 บาท มีนาคมเก็บ 2,000 บาท เมษายนเก็บ 2,500 บาทนั่นคือเก็บเงินเพิ่มเดือน ละ 500 บาท

จนถึงธันวาคมที่เก็บ 6,500 บาท

ซึ่งหากทำแบบนี้ภายใน 1 ปีจะมีเงินเก็บทั้งสิ้น 45,000 บาทปีถัดไป เจ้านายใจดีเพิ่มเงิน เดือนให้ก็อาจจะเริ่มต้นเก็บ

เงินเดือนมกราคมเป็น 1,500 บาทกุมภาพันธ์ เก็บ 2,000 บาท (เก็บเงินเพิ่มเดือนละ 500 บาท) จนถึงธันวาคม

ที่เก็บ 7,0 00 บาท

หากทำแบบนี้ ในปีนั้นจะมีเงินเก็บทั้งสิ้น 51,000 บาท แค่สองปีก็มีเงินเก็บ 96,000 บาท ทำให้ หั ว ใ จ พ องโ ต

และอย ากจะเก็บเงินต่อไปเรื่อยๆ และปีที่สาม เริ่มต้นที่ 2,000 บาท

และปีถัดๆ ไปก็ทำแบบนี้ไปเรื่อยๆ เพียงแค่เพิ่มจำ นวนเงิน ถ้าทำได้ 10 ปีต่อเนื่อง ไม่อย ากคิดเลยว่าจะมีเงินเก็บ

มากแค่ไหนและยิ่งรู้จักนำไปลงทุนสร้างผลตอบแทนให้ได้สม่ำเสมอ เงินจะยิ่งงอ กเงยขึ้นเรื่อยๆ

6 เดือน 10,300 บาท

เ ป็ น ค วามสนุกสนานแถมเกิดการเรียนรู้เรื่องเป้าหมายด้วย วิธีการคือ มกราคมเก็บ 1,000 บาทกุมภาพันธ์เก็บ

2,000 บาทพอถึงเดือนมีนาคมต้องเก็บเงินให้ได้เท่ากับหรือมากกว่า เดือนมกราคม สมมติว่าเก็บ 1,200 บาท

ถึงเดือนเมษายนยิ่งสนุกและท้าทาย

เ พ ร า ะต้องเก็บให้ได้เท่ากับหรือมากกว่าเดือนกุมภาพันธ์สมมติว่าเก็บ 2,300 บาทมาถึงเดือนพฤษภาคมก็

ต้องเก็บให้ได้เท่ากับหรือมากกว่าเดือนมีนาคมสมมติเก็บ 1,300 บาท และเดือนมิถุนายนต้องเก็บให้ได้

เท่ากับหรือมากก ว่าเดือนเมษายนสมมติเก็บ 2,500 บาท

ถ้าทำได้แค่ครึ่งปีแรกจะมีเงินเก็บ 10,3 00 บาท เช่นเดียวกันพอครึ่งปีหลัง (กรกฎาคม – ธันวาคม) ก็ใช้วิธีเดิม

สรุปแล้วปีนั้นมีเงินเก็บทั้งสิ้น 20,600 บาท และจะเพิ่มความสนุกสนานมากขึ้นกับวิธีนี้แนะนำให้ทำเป็นตาราง

ในสมุดเก็บเงินเพิ่มวันละบาท ปี เดียว ท ะ ลุ ครึ่งแสน

ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ เมื่อเก็บเงินเพิ่มวันละบาท เก็บไปเรื่อยๆ ห้ามหยุด แม้แต่วันเดียว พอถึงวันสุดท้ายของปีก็เปิด

กระปุกดูเงินเก็บกลายเป็น 66,795 บาท

ถ้าทำอย่ างนี้ไปทุกปีๆ แล้วนำเงินเก็บทั้งหมดไปลงทุน เพื่อให้ได้ผลตอบแทน จาก 1 บาทจะกลายเป็นหลัก

ล้านบาทภายในไม่กี่ปีเทคนิคของการเก็บเงินเพิ่มวันละบาท ง่ายเหมือนปอกกล้วยเข้าปาก

วัน ที่ 1 ออม 1 บาท

วันที่ 2 ออม 2 บาท

วันที่ 3 ออม 3 บาท

วันที่ 4 ออม 4 บา ท

วันที่ 100 ออม 100 บาท

วันที่ 280 ออม 280 บาท

วันที่ 365 ออม 365 บา ท

ทำแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนถึงวันสุดท้ายของปี ภายใน 1 ปี จะมีเงินออมทั้งสิ้น 66,795 บาท

วันละ 30 บาท 12,000 บาท

วิธีการ คือ ตกเย็นหลังกลับจากออฟฟิศ ให้นำเงิน 30 บาทไปหยอดกระปุก สิ้นเดือนจะได้ 900 บาทสิ้นปีได้

10,800 บาท และเพื่อให้การออมเงินสนุกสนานขึ้นอาจจะมองว่า 900 บาทเป็นตัวเลขไม่สวยถ้าเป็นเช่นนั้น

ตอนสิ้นเดือน ลองเติมอีก 100 บาทก็จะมีเงินเก็บ 1,000 บาทต่อเดือน สิ้นปีเบาะๆ ก็ 12,0 00 บาท

เ ป ลี่ ยนเศษเงินเป็นเงินหมื่นเงินแสน ตื่นเต้นไม่แพ้วิธีอื่น ๆ นั่นคือตัดเศษเงินเดือน โดยเมื่อเงินเดือนเข้ามาใน

บัญชี อย่ าพึ่งใช้แต่ให้ดูว่ามียอดเท่าไหร่สมมติว่าอยู่ที่ 28,860 บาท ก็ให้นำไปหยอดกระปุกทันที 860 บาท

ถ้าทำแบบนี้ทุกๆ เดือน

คิดดูว่าสิ้นปีจะมีเงินเก็บเท่าไหร่มาถึงตรงนี้หลายๆ คนอาจจะมีคำถามว่าจะเลือกใช้วิธีไหน คำตอบคือเอาที่

สบายใจ เ พ ร า ะการออมเงินหรือการลงทุนเป็นเรื่องส่วนตัว ขึ้นอยู่กับความชอบ ความพอใจ

หรือกำลังของแต่ละคนอย ากจะบอกว่า การออมเงินถ้าทำให้เป็นเรื่องสนุกเหมือนกำลังดูคอนเสิร์ตศิลปินที่

ชื่นชอบดูละครหลังข่าวหรือดูทีมฟุตบอลในดวงใจแข่งขัน รับรองจะไม่รู้สึกว่าเป็นภาระของชีวิตอะไรเลย

เผลอๆพอออมเงินไปสักพักแล้วมองว่าเก็บได้น้อยเกินไป อาจมีพลังบางอย่ างที่ทำให้ต้องการหยอดกระปุก

เพิ่มก็เป็นได้

Load More Related Articles
Load More By ขยำกระดาษ
Load More In ข้อคิดชีวิต
Comments are closed.

Check Also

นี่แหละคือสิ่งที่ศักดิ์สิทธิ์มากสำหรับลูกๆ บูชาพ่อแม่แล้วเจริญรุ่งเรือง

ช าย ผ้ า ถุ ง ของแม่ เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แม้ไม่ต้องปล … …