6 คำพูดที่ลูก “ไม่อย ากได้ยิน” จากปากพ่อแม่ของเขา
คำพูดของคุณพ่อคุณแม่นั้น หากเต็มไปด้วยถ้อยคำแง่ลบ ประชดประชัน ตำหนิและติเตียน ก็ย่อม
ส่งผลต่อทัศนคติ ความคิด และความรู้สึกของลูกอย่ างเลี่ยงไม่ได้วันนี้เราจึงได้นำคำพูดไม่ดีที่
ไม่ควรเผลอใช้กับลูก เ พ ร า ะอาจ ส่ ง ผ ล ไม่ดี ต่อลูกได้มากกว่าที่เราคิดฝากกันค่ะ
1 : “ลูกไม่น่าเกิดมาเลย”
แม้จะโกรธหรือผิดหวังในตัวลูกมากแค่ไหน แต่ประโยคนี้ก็ไม่ควรอย่ างยิ่งที่จะพูดออกมาให้ลูก
ได้ยิน เ พ ร า ะนอกจากจะ ทำ ล า ย จิตใจ ของลูกอย่ างมากแล้ว ยังเป็นแผ ลที่จะติดอยู่ในใจ
ลูกต่อไปอย่ างแน่นอน
2 : “ลูกเป็นคนเห็นแก่ตัวจังเลย”
บ่อยครั้งที่ลูกมักจะแสดงอาการหวงของเล่นของตัวเอง หวงขนมหรือของกินที่ตัวเองชอบ จนไม่
ยอมแบ่งให้คนอื่น คุณพ่อคุณแม่อาจจะมีเจตนาที่ดี ไม่อย ากให้ลูกมีพฤติกรรมเช่นนั้น จึงใช้วิธี
ตำหนิว่าลูกกำลังแสดงพฤติกรรมของคนเห็นแก่ตัว เพื่อหวังให้ลูกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแต่
ธรรมชาติของเด็ก เขายังไม่ถึงวัยที่จะรู้และ
เข้าใจความหมายของคำดังกล่าว อาการหวงของเป็นเพียงการแสดงออกไปตามสัญชาตญาณ
เท่านั้น ดังนั้นแทนที่คุณพ่อคุณแม่จะพูดให้ลูกรู้สึกไม่ดีกับตัวเองแล้ว
ลองเปลี่ยนพูดคุยและอธิบายให้ลูกเข้าใจประโยชน์ของ การ แ บ่ ง ลองสอนลูกว่าเราสามารถ
แ บ่ งให้สิ่งนี้กับเพื่อนได้ และเพื่อนจะรู้สึกดีใจมากที่ลูกแบ่งให้รวมถึงการทำให้ลูกเห็นบ่อยๆ
ว่าคุณพ่อคุณแม่ก็ แ บ่ ง ให้กันได้เป็นเรื่องธรรมดา
3 : “ลูกไม่ได้รู้สึกแบบนั้นหรอก”
อีกหนึ่งประโยคพูดที่ไม่ควรใช้กับลูกเป็นอย่ างยิ่งก็คือการตัดสินว่า ‘ลูกไม่ได้รู้สึกอย่ างนั้น’
แ ม้ จ ะ ดู เ ป็ น คำ พู ด ที่ ไ ร้ ภั ย แต่ในความเป็นจริงแล้วเมื่อลูกพูดบางสิ่ง ออกมา เช่น
หนู เ ก ลี ย ดแม่ หรือหนูไม่ชอบให้ที่พี่เล่นเกมเก่งกว่า แม้คุณจะรู้ดีว่าความจริงลูกอาจจะ
ไม่ได้รู้สึกเช่นนั้นทั้งหมด แต่ก็ไม่ควรปฏิเสธหรือเพิกเฉยต่อความรู้สึกและคำพูด
ที่ลูกแสดงออกมา เ พ ร า ะอาจทำให้เด็กรู้ว่าเขาถูกเมิน ไม่มีคนเข้าใจ และไม่มีใครสนใจ
ความรู้สึกจริงๆ ของเขาทางที่ดีคุณพ่อคุณแม่อาจใช้วิธีถามเพื่อช่วยอธิบายให้ลูกเข้าใจ
ความรู้สึกของตัวเองมากขึ้น เช่น ลู ก เ ก ลี ย ด คุ ณ แ ม่ หรือว่าลูกไม่พอใจที่คุณแม่
ขั ด ใ จ กั นแน่นะ แม่จะได้แก้ไขถูก หรือช่วยให้ลูกเลือกสะท้อนอารมณ์ของตัวเอง
เช่น ลูกไม่อย ากให้พี่เล่นเกมเก่งหรือว่าหนูอย ากให้พี่ช่วยสอนให้หนูเล่นเกมเก่ง
เหมือนกันมากกว่า
4 : “เร็วๆ หน่อยสิ”
คุณ พ่อ คุณ แม่ ต้องเคยเผลอใช้คำพูดเร่งเร้าเช่นนี้กับลูกแน่ ยิ่งเวลาที่ต้องรีบออกจากบ้านไป
โรงเรียน แล้วหันมาเจอลูกกำลังลีลาอยู่กับการกินข้าว เก็บของ และใส่รองเท้าแต่แม้จะเร่งรีบ
ขนาดไหนการเร่งหรือบอกให้ลูก “เร็วๆ หน่อย” ก็ไม่ควรใช้กับลูกมากนักเ พ ร า ะจะทำให้ลูก
กลายเป็นเด็กขี้กังวล ลน และเร่งรีบจนทำอะไรผิดพลาดได้ง่ายแต่คุณพ่อคุณแม่สามารถ
ก ร ะ ตุ้ น ให้ลูกทำอะไรรวดเร็วขึ้นได้ด้วยวิธีการสนุกๆ เช่น เล่นแข่งใส่รองเท้า หรือ
เก็บของ มีกติกาว่าใครเสร็จก่อนชนะ เพื่อผลลัพธ์คือการที่ลูกเร่งมือแต่สนุกและ
ไม่ เ ค รี ย ด จนเกินไป
5 : “เกิดอะไรขึ้นกับลูก ทำไมลูกทำแบบนี้”
จริงๆ แล้วคุณพ่อคุณแม่อาจคิดว่าคำพูดนี้เป็นการถามไถ่ด้วยความเป็นห่วง หวังจะให้ลูกได้เล่า
หรือระบายสิ่งที่อยู่ในใจ แต่ในความเป็นจริงแล้วลูกกลับหลีกเลี่ยงที่จะพูดคุยเมื่อโดนถามด้วย
คำถามดังกล่าว เ พ ร า ะเหมือนเป็นการถามนำให้ลูกรู้สึกว่าตัวเองทำผิด และมีถ้อยคำของ
ความผิดหวังซ่อนอยู่ในคำถามหากคุณพ่อคุณแม่
อย ากให้ลูกบอกเล่าเรื่องราวหรืออธิบายพฤติกรรมของตัวเอง ลองเปลี่ยนเป็นถามด้วยน้ำเสียง
หรือถ้อยคำเชิงบวก เช่น คุณแม่อย ากรู้ว่าลูกคิดอะไรถึงทำแบบนั้นเหรอคะหรือลูกพอจะบอก
ได้ไหมคะว่าวิธีของลูกได้ผลหรือเปล่า
6 : “ไม่เห็นมีอะไรน่ากลัวเลย”
ความรู้สึกกลัวเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน รวมถึงเด็กๆ ที่ยังมีประสบการณ์ในชีวิตไม่มากพอที่จะ
เข้าใจอะไรหลายอย่ างในโลก รวมถึงยังจัดการความรู้สึกกลัวของตัวเองไม่ค่อยเป็นดังนั้น หาก
ลูกกำลังกลัวอะไร การบอกลูกว่า “ไม่เห็นมีอะไรน่ากลัวเลย” จึงไม่ใช่ทางออกที่ดีนัก เ พ ร า ะ
อาจทำให้ลูกรู้สึกถูกเพิกเฉย และไม่มีวิธีที่จะรับมือกับความกลัวนั้น
ทางที่ดีคุณพ่อคุณแม่ควรอธิบายว่าทำไมลูกถึงไม่ควรกลัวสิ่งนั้น เช่น ทำไมลูกไม่ควรกลัวเวลาที่
แม่ปิดไฟ เ พ ร า ะห้องนอนของลูกปลอดภัย และคุณพ่อคุณแม่ก็อยู่ไม่ไกลจากตรงนี้
การปิดไฟนอนจะทำให้ลูกนอนหลับได้ดีกว่า หรือให้เวลาลูกได้ทำความรู้จักกับความกลัวของ
ตัวเองบ้าง เช่น ลองปิดไฟแต่นั่งอยู่กับลูกสักครู่เพื่อให้ลูกใจเย็นและสงบลงได้ด้วยตัวเอง